當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 誰說男孩有淚不輕彈?這樣的觀念正確嗎?

誰說男孩有淚不輕彈?這樣的觀念正確嗎?

推薦人: 來源: 閱讀: 1.69W 次

男兒有淚不輕彈?男孩子的眼淚是自己的弱點?男孩子的哭泣是懦夫的表現?“男孩子不能哭”是很多家長從小就灌輸給孩子們的觀念,使得不知從什麼時候開始男孩子忍住不哭成爲了一種他聽話、懂事、堅強的表現了。每個人都有哭訴,流淚的權利,每個人都有着自己的弱點,不必壓抑,勇敢大方地做自己,表達自己的情緒,這纔是父母,社會應該灌輸給小孩的觀念。

padding-bottom: 60%;">誰說男孩有淚不輕彈?這樣的觀念正確嗎?

ที่จริงแล้วไม่ใช่แค่บ้านเราเท่านั้นที่มีความเชื่อแบบนี้ ในหลาย ๆ วัฒนธรรมทั่วโลกล้วนชื่นชมยกย่องเด็กที่ไม่ร้องไห้ เข้มแข็ง และไม่ค่อยอดทนกับเสียงงอแงของเด็ก ๆ เพราะรู้สึกว่ามันไร้สาระ ร้องไห้อีกแล้ว เรื่องแค่นี้เอง ร้องทำไม “หยุดร้องได้แล้วน่ารำคาญ!” กลายเป็นประโยคติดปากผู้ใหญ่และทำร้ายจิตใจของเด็ก ๆ มากมายนับไม่ถ้วน

其實不只是我們國家有這種觀念,在世界各地的諸多文化中,都推崇讚賞不哭、堅強的孩子,不太能容忍太孩子氣的那種聲音,因爲他們覺得那是些廢話,因爲這種小事又哭了,哭什麼啊,而“別哭了,真煩!”變成了大人們的口頭禪,上了無數孩子的心。

การ ‘อดกลั้น’ และ ‘กดทับ’ ความรู้สึกที่แย่ ๆ เอาไว้ข้างในดูจะเป็นสิ่งที่เราคุ้นเคยกันอย่างดี มันจึงไม่ใช่เรื่องที่น่าแปลกใจเท่าไหร่ที่ในตอนนี้เราเห็นคนให้ความสนใจกับผู้อื่นน้อยลง เอาตัวเองเป็นหลัก และไม่ค่อยคิดถึงความรู้สึกของคนอื่น ในรายกายพอดแคสท์ “Speaking of Psychology” ตอนหนึ่ง (The decline of empathy and the rise of narcissism) ที่พูดถึงเรื่องของ “Empathy” หรือ “ความเห็นอกเห็นใจ” ที่งานวิจัยบ่งบอกว่าตอนนี้คนส่วนใหญ่จะสนใจคนอื่นน้อยลงกว่าเดิม และจะให้ความสำคัญกับสิ่งที่ตัวเองคิดเท่านั้น ความรู้สึกที่มนุษย์คนอื่นมีอยู่ข้างในมักถูกมองข้ามและละเลย ส่วนอารมณ์ความรู้สึกทางด้านลบของตัวเองก็พยายามกดไว้ (โดยเฉพาะความโกรธหรือความเศร้า) เพราะเราอยู่ในสังคมที่การแสดงอารมณ์เหล่านั้นออกมากลายเป็นสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ แสดงถึงความอ่อนแอของจิตใจและไม่น่าสนใจ ทั้ง ๆ ที่มันควรได้รับการดูแลเอาใจใส่โดยเฉพาะในวัยเด็กที่พวกเขายังไม่รู้วิธีจัดการกับอารมณ์เหล่านั้นยังไง

“忍耐”、“壓制”內心的壞情緒似乎是我們再熟悉不過的事情了。因此,我們現在看到人們對他人的關注越來越少,以自己爲主,不太關注他人的情緒,也就不足爲奇了。在 Body 播客“Speaking of Psychology”中,有一集(同理心的下降和自戀的興起)討論了“同理心”或“同情心”,研究表明,現如今的大部分人對他人的興趣比以前少了,並且只會專注於自身的想法,而其他人內心的感受往往被忽視,至於自己的負面情緒,只會儘量壓抑,(尤其是憤怒或悲傷),因爲我們生活在一個如果表達這些情緒會變得不受歡迎的社會。當表現出內心的脆弱時,並不會受到關注,即使應該受到關照,尤其是在兒童這個還不知道如何處理情緒的年紀時。

น้ำตาจากการร้องไห้หรือน้ำตาที่เกิดจากอารมณ์ต่าง ๆ มีส่วนประกอบทางเคมีอะดรีโนคอร์ติโคโทรพิก (Adrenocorticotropic Hormone, ACTH) ฮอร์โมนที่ควบคุมระดับความเครียดและ ลู เอ็นคีฟาลิน (Leu Enkephalin) ซึ่งทำหน้าที่ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดเหมือนเป็นยาแก้ปวดตามธรรมชาติ ซึ่งก็เป็นสาเหตุที่ว่าร้องไห้แล้วทำไมเราถึงรู้สึกดีขึ้น

哭泣或情緒化的眼淚中含有一種促腎上腺皮質激素的化學物質,促腎上腺皮質激素 (ACTH) 是一種調節壓力水平的激素,而Leu 腦啡肽是一種天然的止痛藥,這就是爲什麼哭泣讓我們感覺更好的原因。

น้ำตาจึงช่วยให้เราสงบลงเพื่อจะได้ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดอารมณ์เหล่านั้น ความโกรธหรือเศร้าเป็นการตอบสนองของร่างกายเพื่อเอาตัวรอด อารมณ์ทำให้เกิดการกระทำที่ตามเพื่อ ให้เราแก้ไขสถานการณ์ ปรับตัว เติบโตและพัฒนาขึ้นในครั้งต่อไป ดังนั้นเมื่ออารมณ์ของเราถูกกดทับโดยพยายามกลั้นเอาไว้หรือปล่อยทิ้งไว้โดยไม่มีใครดูแล พวกมันก็สามารถเริ่มกัดกินความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจของเราได้เลย เมื่อเราโกรธสะสมก็จะเพิ่มความเครียดไปด้วย และสิ่งที่มีโอกาสจะตามมาคือเมื่อมันเอ่อล้นทะลักก็จะเป็นปัญหาที่ใหญ่ ควบคุมไม่อยู่ บางทีก็ในเวลาและสถานที่ที่ไม่เหมาะสมด้วย อย่างถ้าเราเห็นว่าเด็ก ๆ ร้องไห้อย่างไม่มีเหตุผลหรือปลอบยังไงก็ไม่หยุด บางทีมันมีต้นตอที่ฝังอยู่ในอดีตที่เขาพยายามกลั้นเอาไว้มานานแล้วก็ได้

眼淚幫助我們冷靜下來,以便對觸發這些情緒的情況做出反應。憤怒或悲傷是身體的本能反應。情緒會導致接下來的行動,這樣我們才能在下一次糾正這種情況、適應、成長和改進。因此,當我們的情緒因試圖抑制或不理會它們而受到抑制時,它們就會開始吞噬我們的身心快樂。隨之而來的可能是當它溢出時,有時是在錯誤的時間和地點,將會是一個很大的失控問題。例如,如果我們看到我們的孩子無緣無故地哭泣或者怎麼安慰也不停息時,例如,如果我們看到孩子無緣無故哭泣或停止安慰他們,或許這是埋藏在過去的根,只是他努力壓抑了很久。

เพราะฉะนั้นเมื่อไหร่ที่เราเห็นลูก ๆ กำลังกำหมัดด้วยความโกรธ พยายามกลั้นน้ำตาเพราะความเศร้า ลองคุกเข่าลงไปข้างหน้าเขาและดึงเขามากอดแล้วบอกว่า “ร้องไห้ได้นะลูก มันไม่เป็นไร ร้องไห้เป็นเรื่องที่โอเค”

所以當我們看到我們的孩子憤怒地握緊拳頭, 努力忍住悲傷的淚水時,試着跪坐在他面前,把他拉過來擁抱,然後說, “你可以哭寶貝,沒關係,哭也沒關係。”

在哭泣時給予鼓勵和安慰,是絕對有用的事,這不僅僅適用於孩童,大人們也適用,誰都有哭泣的權利。

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自sanook,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。